Korawich Kavee

@kkavee@urbanists.social
262 Followers
1.3K Following
5.5K Posts
(กรวิชญ์ กวี) "Street-Level Urban Gravity" in BuidSys 2023. Walkable city and such,CMU CEE Transportation, PH2000 consult, TU TEP UNSW Sydney Civil Engineering, Ines Madrid - {ไทย/Eng} Medium YT, translate some notjustbikes vid Now in Pittsburgh
linktreehttps://linktr.ee/kaveekorawich
YOUTUBEhttps://www.youtube.com/c/KorawichKavee
medium.comhttps://korawichmawinkavee.medium.com/
linkedin.comhttps://www.linkedin.com/in/korawich-kavee-b8214a11b/
ไปเจอทุนนี้มา ความสนใจด้านการวิจัยตรงกับผมเลยแหะ เลยสะดุดตา อยากแชร์ต่อทุนตำแหน่งป.เอก เต็ม ที่กว่างโจวlab สนใจข้อมูลเพื่อทำความเข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมในเมืองและผู้คน พอมีพื้นฐานการทำงาน GIS, AI สตรีทวิว LiDARหากสนใจ กรุณาส่งอีเมลมาที่ keejang@mit.edu พร้อมเอกสารประกอบประวัติอ.คนนี้- นักวิจัย post doc ที่ MIT Senseable City Lab- ป.ตรี โท เอก วิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม จาก KAIST เกาหลี- ได้รับเลือกให้อยู่ในรายชื่อ Forbes 30 Under 30 Asia (2023) สาขา Healthcare & Science
This is why I have problems with preparing lunch for work.
Pittsburgh deer should be a name for some kind of sports team.

40÷0.36≈111.11

นี่คืออะไร? พอดีลองคิดเล่น แบบไก่เขี่ยมาก ว่าถ้าดู intersection density (ต่อ 1 ตร.ไมล์มีกี่แยก) แถวนี้ ละแวกถนนประดิพัทธ์/ แยกสะพานควาย พยายามเลี่ยงไม่นับพวก gated commnity และซอยตัน แต่นี่คือนอนนับโง่ๆด้วยมือ ได้ 111 ก็ไม่เลวนะ แน่นอน การเชื่อมต่อกันจริงๆยังมีปัญหาก้างปลา

ย่านนี้มีโอกาสมีเศรฐกิจท้องถิ่นที่ดีถ้าทำให้พื้นที่ข้างในเพิ่ม ซึ่งไม่จำเป็นต้องตัดถนนใหญ่ แค่เป็นถนน street เล็กๆให้การเดินทางที่ไม่กินที่เท่ารถผ่านก็ยังนับเป็นการเติม intersection density ได้

Not so comprehensive urban water cycle/ flood digram but comprehensive enough for internet/101 maybe.

I once made the Thai version of this so I figure I should do the English one.

#naturalDisaster #Rain #Flood #environment

ต้นไม้เมืองแต่ละต้นสามารถลด runoff เหมือนดูดเก็บกาแฟหนึ่งแก้วต่อวินาที (∼0.14 ลิตร/วินาที) และในพื้นที่ที่ศึกษานี้ คิดรวมทุกต้นจะลด peak discharge 17 ถึง 27%
ไม่ได้มาสายน้ำ/สวล แต่เคยมีคนที่วิจัยเรื่องพวกนี้เคยพูดถึงเรื่อง citizen sensors ในเรื่องน้ำ มักจะเป็นชาวประมงที่จับปลาแถวนั้น คนพวกนี้คือคนที่เป็นผลกระทบสภาพอากาศเปลี่ยแปลง มลพิษอะไรต่างๆ แบบก่อนคนอื่นๆ สัตว์น้ำมันให้ข้อมูลเร็วและง่ายกว่าอื่นๆ (quote เขามาอีกที)
ไอเดียคล้ายๆกัน อ.ที่unsw ด้าน geotech เคยบอกว่าน้อง wombat คือวิศวกรธรณีที่เก่งที่สุด
แนวคิดประชาชน/สัตว์ในฐานะเซ็นเซอร์มีชีวิตนี่ก็เป็นวิจัยที่ต่อยอดมาเรื่องระบบเมืองได้ และบาง lab ขนส่ง/เมือง ก็เริ่มปั่นเปเปอร์ละ
Walking in #Pittsburgh (song name)
ปีที่แล้วเคยไปนั่งอยู่ตรงนี้
รวมร่างแล้วมันต้องดีขึ้นไหมนะ?